วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

หัวใจชายหนุ่ม

หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยใช้
พระนามแฝงว่า รามจิตติ  เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ ในหนังสือพิมพ์ ดุสิตสมิต เมื่อ พ.ศ. 2464 ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน 18 ฉบับ รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมายทั้งหมด 1 ปี 7 เดือนอ่านเพิ่มเติม


คำนมัสการคุณานุคุณ

คำนมัสการคุณานุคุณ
     คำนมัสการคุณานุคุณ  ผลงานการประพันธ์ของ  พระยาศรีสุนทรโวหาร  (น้อย  อาจารยางกูร)  มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกในคุณงามความดีของพระพุทธ  พระธรรม  พระสงฆ์  บิดามารดา  และครูอาจารย์  โดยมีความมุ่งหมายที่จะให้ผู้อ่านโดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทยตั้งอยู่ในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันอ่านเพิ่มเติม


พระอภัยมณี

เมื่อพระอภัยมณีได้นางเงือกแล้ว โถ! หม้อข้าวยังไม่ทันดำก็จำต้องพรากจากกันไป  เพราะบังเอิญนางสุวรรณมาลี ธิดาพระเจ้ากรุงผลึกได้ล่องเรือตามหาดวงแก้วในฝัน จนมาถึงเกาะแก้วพิสดาร พระอภัยมณีและสินสมุทรจึงขอโดยสารเรือกลับไปด้วยอ่านเพิ่มเติม

อิเหนา

 อิเหนา เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 เป็นบทละครรำที่พร้อมเพรียงทั้งเนื้อหา ความไพเราะ กระบวนการเล่นละคร และยังสะท้อนถึงประเพณีไทยในอดีต โดยแม้บทละครรำเรื่อง อิเหนา จะมีพื้นเพมาจากชวา แต่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก็ทรงปรับแก้ให้เข้ากับธรรมเนียมของบ้านเมือง และรสนิยมของคนไทยอ่านเพิ่มเติม


หลักภาษาไทย

หลักภาษาไทยเบื้องต้น
อักษรไทย
อักษรไทยมี 4 ชนิด คือ 1.พยัญชนะ 2.สระ 3.วรรณยุกต์ 4.ตัวเลขไทย
เสียงสระเป็นเสียงแท้ เสียงพยัญชนะเป็นเสียงแปล เสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงดนตรี
พยัญชนะไทยมี 44 รูป 21 เสียง พยัญชนะที่สามารถทำหน้าที่เป็นรูปสระได้แก่ อ, ,
สระในภาษาไทยมี 21 รูป 32 เสียง แบ่งเป็นสระเสียงสั้น(รัสสระ) 18 เสียง และ สระเสียงยาว(ทีฆสระ) 14 เสียงอ่านเพิ่มเติม


ความสำคัญ

ความสำคัญของภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระการงานและดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาชาติได้อย่างสันติสุขอ่านเพิ่มเติม


การพัฒนา

ความรู้ประการหนึ่งที่อาจจะกล่าวได้ว่า ครูภาษาไทยให้ความสำคัญน้อยมากก็คือความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการของภาษาในเด็ก (language development) ทั้งที่จริงแล้ว ความรู้หรือทฤษฎีนี้จะช่วยให้ครูภาษาไทยเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของตนได้ชัดเจนยิ่งขึ้น  น่าเป็นห่วงว่า สถาบันครุศึกษาที่ทำหน้าที่ผลิตครู โดยเฉพาะในสาขาวิชาการสอนภาษาไทยหลายแห่ง มิได้กำหนดรายวิชาเกี่ยวกับพัฒนาการของภาษาลงไปในหลักสูตรอ่านเพิ่มเติม



กำเนิดอักษรไทย

กำเนิดอักษรไทย
            พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๖ โดยทรงดัดแปลงมาจากอักษรขอมหวัดและอักษรไทยเดิม ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรมอญและคิดอักษรไทยขึ้นใหม่ให้มีสระ  และวรรณยุกต์ให้พอใช้กับภาษาไทย และทรงเรียกอักษรดังกล่าว ลายสือไทย ดังมีกล่าวในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงตอนหนึ่งว่าอ่านเพิ่มเติม

ประวัติ

ภาษาไทยเป็นภาษาที่เก่าเเก่ที่สุดในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีรากฐานมาจากออสโตรไทย ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับภาษาจีน มีหลายคำที่ขอยืมมาจากภาษาจีน
พ่อขุนรามคำเเหงได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อปี พศ 1826 (คศ1283) มี พยัญชนะ 44 ตัว (21 เสียง), สระ 21 รูป (32 เสียง), วรรณยุกต์ 5 เสียง คือ เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ภาษาไทยดัดเเปลงมาจากบาลี เเละ สันสกฤตอ่านเพิ่มเติม



ภาษาไทย

ภาษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต   ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำอ่านเพิ่มเติม